เคล็ดลับจัดการซื้อสินค้าใน ASEAN ด้วยสิทธิพิเศษ ภาษี 0% / Asean trade in goods agreement (ATIGA)

-


ความสำคัญ

       ATIGA จากข้อตกลงการซื้อขายสินค้าใน ASEAN ที่ผู้ซื้อได้รับสิทธิพิเศษต่างๆจากผู้ขาย

โดยต้องปฏิบัติตามกฎระเบียบของประชาคมที่ว่าด้วยถิ่นกำเนิดสินค้าก่อนการได้รับสิทธิพิเศษต่างๆ

ทำให้การสั่งซื้อมีอัตราภาษีนำเข้า 0% และไร้อุปสรรคอื่นๆที่เคยมี (Tariff and Non-Tariff

Barriers) 

         แต่ที่สำคัญคือความถูกต้องในการใช้ถ้อยคำระบุในเอกสารสัญญาและการเลือกผู้ขาย

ที่มีคุณสมบัติครบถ้วนในการให้สิทธิ์แก่ผู้ซื้อนอกจากนี้ จะต้องใช้ Invoice Declaration เป็น

เอกสารแสดงสิทธิ์แบบใหม่ จากที่เคยใช้ Form ATIGA (D) แบบเดิม

         สถาบันจึงได้จัดสัมมนานี้ขึ้น เพื่อให้นักจัดซื้อ นักการตลาดได้รับทราบและทำความเข้าใจ

จากวิทยากรที่มีประสบการณ์ โดยหวังให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อองค์กรและผู้สัมมนา

 

OUTLINE

1. วงจรการจัดซื้อสินค้าต่างประเทศ

2. เทคนิคในการเลือกผู้ขายเป้าหมาย

3. ตัวอย่างสัญญาซื้อขาย

4. การเลือกใช้ข้อตกลงทางการค้าระหว่างประเทศ (Incoterms ® 2020)

           - Any Mode : EXW, FCA, CPT, CIP, DAP, DPU,DDP

           - Water       : FAS, FOB. CFR, CIF

5. เลือกผู้ขายที่อยู่ในกลุ่มที่ข้อตกลงเรื่องสิทธิประโยชน์ลดหย่อนภาษีอากร

           - ความหมายของภาษีอากร

           - สิทธิประโยชน์ภาษีอากรของประเทศไทย

           - สิทธิประโยชน์ภาษีอากรระหว่างประเทศ

                      - ASEN-AEC

                                 - Form D

                                 - RoO 40% of FOB value(Rules of Origin)

                       - ASEAN-China

                                 - Form E

                                 - RoO (Rules of Origin)

                                 - 40%

                                 - RCEP(Regional Comprehensive Economic Partnership)

                                 - CPTPP(Comprehensive and Progressive Agreement of

                                 Trans-Pacific Partnership) 

6. เอกสารทางการค้าระหว่างประเทศ

           - เอกสารทางการเงิน (Financial Documents)

           - เอกสารทางการขนส่ง(Transport Documents)

           - เอกสารทางการค้า (Commercial Documents)

7. เครื่องมือในการชำระเงิน

           - Letter of Credit

                      - Standby L/C

                      - Transferable L/C

                      - Back to Back L/C

                      - Revolving L/C

                      - Red Clause L/C

           - Bill for Collection (B/C)

           - Consignment

           - Open Accounts

           - Advance of Payment

วิทยากร


อาจารย์วัชระ ปิยะพงษ์

 ประสบการณ์ :

ผู้จัดการสาขา,ผู้จัดการศูนย์ต่างประเทศ ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน)

ผู้พิพากษาสมทบ ศาลทรัพย์สินทางปัญญาและการค้าระหว่างประเทศ

ที่ปรึกษา

ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย (SME BANK)

กำหนดการสัมมนา

รุ่นที่ 27
วันศุกร์ที่ 9 กรกฎาคม 2564 เวลา 09:00 - 16:00 น.
โรงแรม จัสมิน ซิตี้ (สุขุมวิท 23)
(ปากซอยสุขุมวิท 23 / สถานี BTS อโศก / สถานี MRT สุขุมวิท)
รุ่นที่ 28
วันศุกร์ที่ 17 กันยายน 2564 เวลา 09:00 - 16:00 น.
โรงแรม จัสมิน ซิตี้ (สุขุมวิท 23)
(ปากซอยสุขุมวิท 23 / สถานี BTS อโศก / สถานี MRT สุขุมวิท)
รุ่นที่ 29
วันพฤหัสบดีที่ 25 พฤศจิกายน 2564 เวลา 09:00 - 16:00 น.
โรงแรม จัสมิน ซิตี้ (สุขุมวิท 23)
(ปากซอยสุขุมวิท 23 / สถานี BTS อโศก / สถานี MRT สุขุมวิท)

อัตราค่าเข้าร่วมการสัมมนา

3,900+VAT273 = 4,173 (ภาษีหัก ณ ที่จ่าย 117 บาท)

ยิ่งอบรมมาก ยิ่งเสียภาษีน้อย ค่าอบรมสามารถลงรายจ่ายได้เพิ่มขึ้นถึง 200%

ทุกหลักสูตรจะมอบประกาศนียบัตร Certificate of Attendance ให้กับผู้เข้าสัมมนา

 

Scroll to Top