จัดซื้อเชิงป้องกัน แง่มุมทางกฎหมายที่นักจัดซื้อควรรู้

-


หลักการและเหตุผล

              หลักสูตรนี้ไม่ต้องการเปลี่ยนให้นักจัดซื้อกลายเป็นนักกฎหมาย แต่ต้องการจะให้นักจัดซื้อรู้แง่มุมที่สำคัญบางประการของกฎหมาย อันจะทำให้ปฏิบัติการจัดซื้อมีความรอบคอบ ปิดช่องโหว่ ต้นทุนไม่บานปลาย และไม่เกิดข้อบกพร่องหรือเกิดความผิดพลาดโดยรู้เท่าไม่ถึงการณ์เราไม่ต้องการฟ้องร้องขึ้นโรงขึ้นศาล จึงต้องทำงานเชิงป้องกันเอาไว้ก่อน

วัตถุประสงค์

  1. เพื่อให้เข้าใจหลักการสัญญาที่ถูกต้อง
  2. เพื่อให้เกิดความรู้รอบในงาน
  3. เพื่อลดขั้นตอน ลดเวลาในการจัดการหลังสินค้าจัดส่ง
  4. เพื่อดำเนินการให้สอดคล้องกับกฎหมายและลดการกระทำจากความไม่รู้

หัวข้อสัมมนา

1. สัญญาซื้อขายคืออะไร

2. การจัดซื้อว่าจ้างโดยปกติทั่วไป ตามกฎหมายแล้วฝ่ายจัดซื้อและฝ่ายซัพพลายเออร์มีความรับผิดชอบต่อกันและกันอย่างไรบ้าง

3. สัญญา vs ใบสั่งซื้อ/สั่งจ้าง แตกต่างกันและเหมือนกันอย่างไร

4. เปิด PO (ใบสั่งซื้อ/สั่งจ้าง) แล้ว ก็มาทำสัญญาอีก เพราะไม่แน่ใจว่า PO ใช้บังคับได้เหมือนสัญญาหรือไม่

5. อะไรบ้างที่ฝ่ายจัดซื้อต้องไม่ลืมเป็นอันขาดในการทำใบสั่งซื้อหรือทำสัญญาว่าจ้าง มิฉะนั้นหากเกิดเรื่องขึ้นมา ฝ่ายจัดซื้ออาจไม่สามารถเอาผิดเรียกร้องค่าเสียหายได้

6. กรณีใดบ้างที่ทางฝ่ายซัพพลายเออร์ไม่ต้องรับผิดชดใช้ แม้ว่าจะได้ทำให้ฝ่ายจัดซื้อเกิดความเสียหายก็ตาม

7. ฝ่ายจัดซื้อมีสิทธิ์จะทำอะไรได้บ้าง หากซัพพลายเออร์ส่งมอบช้ากว่ากำหนดหรือส่งมอบไม่ตรงตามจำนวน หรือคุณภาพ ไม่เป็นไปตามที่ตกลงกัน และฝ่ายจัดซื้อมีเวลากี่วันที่จะใช้สิทธิ์กับปัญหาเหล่านี้

8. จำเป็นต้องกำหนดบทปรับเอาไว้ทุกครั้งหรือไม่ในการออกใบสั่งซื้อหรือทำสัญญาว่าจ้าง

9. ปัญหาทางกฎหมายในการทำงานจัดซื้อว่าจ้าง และวิธีทำงานให้รอบคอบยิ่งขึ้น

             * จัดซื้อภายในประเทศ

                     -  การครอบครองวัตถุดิบเกินปริมานที่กฎหมายกำหนด

                     -  การขออนุญาตจัดเก็บ

                     -  การรายงานการใช้วัตถุดิบ

              * จัดซื้อภายนอกประเทศ

                     -  กฎการค้าระหว่างประเทศ

                     -  เงื่อนไขพิเศษสำหรับวัตถุดิบ/สินค้าบางชนิด

วิทยากร


คุณวาณี โฉมระ (เรนนี่)

กำหนดการสัมมนา

รุ่นที่ 12
วันจันทร์ที่ 17 มีนาคม 2568 เวลา 09:00 - 16:00 น.
โรงแรม เมอเวนพิค (สุขุมวิท 15)
สถานีรถไฟฟ้า (BTS) นานา โรงแรมอยู่ในซอยสุขุมวิท 15
รุ่นที่ 13
วันอังคารที่ 22 เมษายน 2568 เวลา 09:00 - 16:00 น.
โรงแรม เมอเวนพิค (สุขุมวิท 15)
สถานีรถไฟฟ้า (BTS) นานา โรงแรมอยู่ในซอยสุขุมวิท 15
รุ่นที่ 14
วันจันทร์ที่ 19 พฤษภาคม 2568 เวลา 09:00 - 16:00 น.
โรงแรม เมอเวนพิค (สุขุมวิท 15)
สถานีรถไฟฟ้า (BTS) นานา โรงแรมอยู่ในซอยสุขุมวิท 15
รุ่นที่ 15
วันอังคารที่ 17 มิถุนายน 2568 เวลา 09:00 - 16:00 น.
โรงแรม เมอเวนพิค (สุขุมวิท 15)
สถานีรถไฟฟ้า (BTS) นานา โรงแรมอยู่ในซอยสุขุมวิท 15
รุ่นที่ 16
วันอังคารที่ 15 กรกฎาคม 2568 เวลา 09:00 - 16:00 น.
โรงแรม เมอเวนพิค (สุขุมวิท 15)
สถานีรถไฟฟ้า (BTS) นานา โรงแรมอยู่ในซอยสุขุมวิท 15
รุ่นที่ 17
วันอังคารที่ 19 สิงหาคม 2568 เวลา 09:00 - 16:00 น.
โรงแรม เมอเวนพิค (สุขุมวิท 15)
สถานีรถไฟฟ้า (BTS) นานา โรงแรมอยู่ในซอยสุขุมวิท 15
รุ่นที่ 18
วันพฤหัสบดีที่ 25 กันยายน 2568 เวลา 09:00 - 16:00 น.
โรงแรม เมอเวนพิค (สุขุมวิท 15)
สถานีรถไฟฟ้า (BTS) นานา โรงแรมอยู่ในซอยสุขุมวิท 15
รุ่นที่ 19
วันจันทร์ที่ 20 ตุลาคม 2568 เวลา 09:00 - 16:00 น.
โรงแรม เมอเวนพิค (สุขุมวิท 15)
สถานีรถไฟฟ้า (BTS) นานา โรงแรมอยู่ในซอยสุขุมวิท 15
รุ่นที่ 10
วันศุกร์ที่ 22 พฤศจิกายน 2567 เวลา 09:00 - 16:00 น.
โรงแรม เมอเวนพิค (สุขุมวิท 15)
สถานีรถไฟฟ้า (BTS) นานา โรงแรมอยู่ในซอยสุขุมวิท 15
รุ่นที่ 11
วันจันทร์ที่ 16 ธันวาคม 2567 เวลา 09:00 - 16:00 น.
โรงแรม เมอเวนพิค (สุขุมวิท 15)
สถานีรถไฟฟ้า (BTS) นานา โรงแรมอยู่ในซอยสุขุมวิท 15

อัตราค่าเข้าร่วมการสัมมนา

4,300+VAT301 = 4,601 (ภาษีหัก ณ ที่จ่าย 129 บาท)

ยิ่งอบรมมาก ยิ่งเสียภาษีน้อย ค่าอบรมสามารถลงรายจ่ายได้เพิ่มขึ้นถึง 200%

ทุกหลักสูตรจะมอบประกาศนียบัตร Certificate of Attendance ให้กับผู้เข้าสัมมนา

 

Scroll to Top