เคล็ดลับ การหักภาษี ณ ที่จ่ายทางธุรกิจ แบบเจาะลึก รู้แล้วไม่มีทางหักผิด (พร้อม E-With Holding Tax)
-
หัวข้อสัมมนา
1) สรุปหลักเกณฑ์การหักภาษี ณ ที่จ่ายที่เปลี่ยนแปลงใหม่
2) รูปแบบและรายละเอียดของหนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จ่ายแบบใหม่
3) หนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จ่าย สามารถออกใบแทนได้หรือไม่และมีผลต่อผู้หักภาษีอย่างไรบ้าง
4) ธุรกิจ “ขนส่ง” เฟดฟอร์เวอร์เดอร์ ต้องหักภาษี ณ ที่จ่ายหรือไม่ อัตราเท่าใดและคำสั่งกรมสรรพากรที่ ป.110/2545
- ซื้อตั๋วรถทัวร์ ตั๋วเครื่องบินต้องหักภาษีหรือไม่
- การจ่ายค่าขนของให้กับสายการบินที่รับขนส่ง สาธารณะ เช่น การบินไทย ต้องหักภาษี ณ ที่จ่ายหรือไม่
- ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวเนื่องกับการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศอะไรบ้างที่ไม่ต้องหักภาษี ณ ที่จ่าย
- กรณีผู้รับจ้างขนส่งเป็นบุคคลธรรมดากับนิติบุคคลต่างกันหรือไม่ จะหักภาษีอย่างไร
- ผู้ประกอบการขนส่งต้องจดทะเบียนขนส่งหรือไม่
- อย่างไรเป็น “ขนส่ง” “รับจ้าง” “เช่ารถ” และอัตราภาษีหัก ณ ที่จ่าย ที่ผู้จ่ายต้องหัก
- การจ่ายค่าชิปปิ้งให้กับบริษัทชิปปิ้ง, การจ่ายค่าขนส่งให้กับเฟดฟอร์เวอร์เดอร์ อย่างไรบ้างเป็นค่าขนส่ง,
ค่าบริการของชิปปิ้งหรือเฟดฟอร์เวอร์เดอร์ที่ต้องหักภาษี ณ ที่จ่ายและในกรณีจ่ายเงินรวมกันมาเป็นเช็คใบเดียว,
จ่ายแยกกันต้องหักภาษีอย่างไร
- ค่า CFS, D/O, B/L, THC, C/Y ต้องหักภาษี ณ ที่จ่ายหรือไม่
5) การจ่ายดอกเบี้ย ดอกเบี้ยเงินกู้ ดอกเบี้ยเงินฝาก ดอกเบี้ยหุ้นกู้ ให้กับบริษัท
- ดอกเบี้ยที่ต้องหักภาษี ณ ที่จ่าย
- อัตราการหักภาษี ณ ที่จ่าย
- กรณีจ่ายเงินปันผลหรือเงินส่วนแบ่งของกำไร ตามมาตรา 40(4) (ข) หัก ณ ที่จ่ายอย่างไร
6) การให้รางวัล ส่วนลด การแถมสินค้า การให้ส่วนลดหรือแถมเมื่อขายสินค้าได้ตามเป้าจากการทำการส่งเสริมการขาย
การชิงโชค ประกวด แข่งขัน
- อย่างไรเรียกว่า “ส่งเสริมการขาย” ตามหลักเกณฑ์ของกรมสรรพากร
- กรณีการให้รางวัล เป็นสิ่งของ จะหักภาษีจากราคาใด
- กรณีที่ไม่ต้องหักมีกรณีใดบ้าง
7) การให้ “บริการ” ที่ต้องหักภาษี ณ ที่จ่ายตามหลักเกณฑ์ใหม่
8) ค่าอาหาร ค่าที่พัก ของโรงแรมและภัตตาคารต้องหักภาษี ณ ที่จ่ายหรือไม่
- อย่างไรถือเป็นบริการของโรงแรมที่ไม่ต้องหัก
- การรับจัดเลี้ยงนอกสถานที่ต้องหักภาษี ณ ที่จ่ายหรือไม่
9) กรณีการจ่ายค่าเช่าหรือประโยชน์อย่างอื่นที่ได้ เนื่องจากการเช่าทรัพย์สิน
10) การหักภาษี ณ ที่จ่ายกรณีการจ่ายค่าเบี้ยประกันวินาศภัยให้กับบริษัทประกันภัย
หรือตัวแทนบริษัทประกันภัยทั้งที่มีส่วนลดและไม่มีส่วนลด
11) การหักภาษีฯ ค่าบริการที่เข้าลักษณะ/ไม่เข้าลักษณะเป็นสัญญาระยะยาว คำสั่งกรมสรรพากรที่ ป.11/2545
12) การจ่ายค่าลิขสิทธิ์ ต้องหักภาษีอัตราเท่าใด
- อย่างไรจึงถือว่าเป็น ค่าลิขสิทธิ์
- กรณีซื้อโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ต้องหักภาษี ณ ที่จ่ายหรือไม่
13) การจ่ายเงินอย่างไรต้องหักภาษี ณ ที่จ่าย และหักวันใด
- ลายเซ็นหรือชื่อของผู้มีหน้าที่หักภาษีจำเป็นต้องมีหรือไม่
- อย่างไรเป็นสัญญาระยะยาว
- การจ่ายค่าธรรมเนียมธนาคาร
- การจ่ายเงินแต่ละครั้งไม่ถึงพันบาท แต่รวมจ่ายหลายใบเสร็จต้องหักหรือไม่
14) ภาษีหักภาษี ณ ที่จ่ายเกี่ยวกับการส่งเสริมการขาย คำสั่งกรมสรรพากรที่ ป.118
15) แนวปฏิบัติ E-With Holding Tax
วิทยากร
นิติกรผู้ชำนาญการพิเศษ สำนักกฎหมาย
กรมสรรพากร
อาจารย์พิเศษและที่ปรึกษา ภาคเอกชนและรัฐวิสาหกิจ
กำหนดการสัมมนา
รุ่นที่ 104 |
วันอังคารที่ 18 กุมภาพันธ์ 2568 เวลา 09:00 - 16:00 น. ZOOM (เต็มวัน) |
รุ่นที่ 105 |
วันศุกร์ที่ 18 เมษายน 2568 เวลา 09:00 - 16:00 น. ZOOM (เต็มวัน) |
รุ่นที่ 106 |
วันพุธที่ 18 มิถุนายน 2568 เวลา 09:00 - 16:00 น. ZOOM (เต็มวัน) |
รุ่นที่ 107 |
วันพฤหัสบดีที่ 21 สิงหาคม 2568 เวลา 09:00 - 16:00 น. ZOOM (เต็มวัน) |
รุ่นที่ 108 |
วันศุกร์ที่ 24 ตุลาคม 2568 เวลา 09:00 - 16:00 น. ZOOM (เต็มวัน) |
รุ่นที่ 103 |
วันพุธที่ 18 ธันวาคม 2567 เวลา 09:00 - 16:00 น. ZOOM (เต็มวัน) |
อัตราค่าเข้าร่วมการสัมมนา
2,400+VAT168 = 2,568 (ภาษีหัก ณ ที่จ่าย 72 บาท) |
ห้ามบันทึกภาพ เสียง วีดีโอ แชร์หรือนำไปเผยแพร่ |