กลยุทธ์การวางแผนภาษี BOI ให้ได้สิทธิพิเศษทางภาษีสูงสุด

-


ความสำคัญ

           ธุรกิจ BOI เป็นธุรกิจที่ได้รับสิทธิพิเศษทางภาษีอย่างมาก แต่ก็มักจะโดนสรรพากรเพ่งเล็งอยู่เสมอ ด้วยผู้ปฎิบัติไม่แม่นในหลักภาษี ทำให้ต้องเสียสิทธิมากมาย ร้ายกว่านั้นยังถูกบวกกลับและ ต้องเสียเบี้ยปรับเงินเพิ่มอีกมากมาย

          สถาบันจึงได้จัดหลักสูตรนี้ขึ้นเพื่อเป็นแนวการจัดทำบัญชีที่ทั้งกรมสรรพากร และกระทรวงพาณิชย์ยอมรับ

 

หัวข้อสัมมนา

1. สิทธิประโยชน์ทางภาษีอากรตาม พ.ร.บ.ส่งเสริมการลงทุน ที่แก้ไขใหม่

2. กฎหมายภาษีอากรที่เกี่ยวกับกิจการ BOI

3. วันที่เริ่มรายได้จากการประกอบกิจการที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุนและวันที่เริ่มใช้สิทธิ

4. การวางแผนภาษีและการคำนวณรายได้สำหรับกิจการ BOI และ NON-BOI

          4.1 วางแผนเกี่ยวกับการใช้สิทธิประโยชน์ทางภาษีอากร

          4.2 วางแผนเกี่ยวกับภาษีเงินได้สำหรับเงินปันผล (Dividend)

          4.3 วางแผนเกี่ยวกับการวางประกันภาษีมูลค่าเพิ่ม เพื่อการนำเข้าสินค้า

          4.4 วางแผนเกี่ยวกับภาษีหัก ณ ที่จ่าย

          4.5 วางแผนเพื่อการคำนวณกำไรสุทธิ การเฉลี่ยรายได้และค่าใช้จ่าย BOI และ NON-BOI

5. วางแผนภาษีกรณีมีผลขาดทุนประจำปีของกิจการ

          5.1 การใช้ผลขาดทุนของกิจการที่ได้รับ BOI

          5.2 การใช้ผลขาดทุนของกิจการที่ได้รับ BOI และ NON-BOI

          5.3 การใช้ผลขาดทุนของกิจการที่ได้รับ BOI ทั้งบัตรเดียวและหลายบัตร

6. วางแผนเมื่อสิ้นสุดระยะเวลาการส่งเสริมสำหรับกิจการ BOI

          6.1 การใช้ผลขาดทุนสะสมของธุรกิจ เมื่อสิ้นสุดระยะเวลาส่งเสริม BOI

          6.2 การประมาณการเพื่อเสียภาษีกลางปีและการคำนวณภาษีสิ้นปี ทั้ง BOI และ NON-BOI

          6.3 เมื่อสิ้นสุดระยะเวลาส่งเสริมBOI ต้องเสียภาษีหลายอัตรา จะคำนวณอย่างไร

7 วางแผนป้องกันกับประเด็นที่สรรพกรมักตรวจสอบ กรณี...

          7.1 ผลขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ

          7.2 วันที่เริ่มใช้สิทธิ วันที่เริ่มมีรายได้และรายจ่ายจากการประกอบกิจการ BOI

          7.3 รายได้ของกิจการ BOIที่ได้รับการยกเว้นภาษี

          7.4 รายได้จากผลิตผลพลอยได้ เศษวัสดุ สินค้าไม่ผ่าน QC ของกิจการ BOI

          7.5 การจำหน่ายเครื่องจักร เครื่องมือ อุปกรณ์ หรือทรัพย์สิน ที่ซื้อมาในระหว่างได้รับ BOI

          7.6 รับชำระค่าเสียหายจากประกันภัย

          7.7 รายได้อื่นหรือดอกเบี้ยที่ได้รับเป็นประจำจากการประกอบกิจการ BOI

          7.8 กรณีผิดพลาดจากการยื่นแบบ ภ.ง.ด.50 และแนวทางแก้ไข

วิทยากร


นิติกรผู้ชำนาญการพิเศษ สำนักกฎหมาย

 กรมสรรพากร

อาจารย์พิเศษและที่ปรึกษา ภาคเอกชนและรัฐวิสาหกิจ

กำหนดการสัมมนา

รุ่นที่ 62
วันพุธที่ 26 กุมภาพันธ์ 2568 เวลา 09:00 - 16:00 น.
ZOOM (เต็มวัน)
รุ่นที่ 63
วันอังคารที่ 22 เมษายน 2568 เวลา 09:00 - 16:00 น.
ZOOM (เต็มวัน)
รุ่นที่ 64
วันอังคารที่ 24 มิถุนายน 2568 เวลา 09:00 - 16:00 น.
ZOOM (เต็มวัน)
รุ่นที่ 65
วันศุกร์ที่ 29 สิงหาคม 2568 เวลา 09:00 - 16:00 น.
ZOOM (เต็มวัน)
รุ่นที่ 66
วันอังคารที่ 28 ตุลาคม 2568 เวลา 09:00 - 16:00 น.
ZOOM (เต็มวัน)
รุ่นที่ 61
วันอังคารที่ 24 ธันวาคม 2567 เวลา 09:00 - 16:00 น.
ZOOM (เต็มวัน)

อัตราค่าเข้าร่วมการสัมมนา

2,700+VAT189 = 2,889 (ภาษีหัก ณ ที่จ่าย 81 บาท)

by ZOOM พิเศษสุด!...สำหรับบุคคลธรรมดา

เหลือเพียง 2,200 บาท (ก่อน VAT)

 

Scroll to Top