บัญชีสินค้าคงเหลือ การตรวจนับสินค้า การจัดทำรายงานสินค้าและวัตถุดิบ
-
หัวข้อสัมมนา
1. ประเด็นปัญหาเกี่ยวกับบัญชีสินค้าคงเหลือและการตรวจนับสินค้า
2. แนวปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที 2 สินค้าคงเหลือ
3. การจัดทำรายงานสินค้าและวัตถุดิบ ตามหลักเกณฑ์ของสรรพากร
- กิจการที่กฎหมายกำหนดให้จัดทำรายงานฯ
- การจัดทำรายงานของสินค้าสำเร็จรูป
- ข้อควรระวังเกี่ยวกับระบบเอกสารลงรายงาน
4. ปัญหาและแนวทางแก้ไขเกี่ยวกับสินค้าคงเหลือกรณี
- นำสินค้าค้างสต๊อกหรือสินค้าไม่ผ่าน Q.C. ไปส่งเสริมการขาย
- แนวปฏิบัติและการแก้ปัญหากรณีสินค้าชำรุด สูญหาย เสียหาย เสื่อมคุณภาพ ล้าสมัย ยืมไปจำหน่าย
ทดลองใช้ สินค้าตัวอย่าง สินค้าต่ำกว่ามาตรฐาน ผลิตเสร็จแล้วใช้การไม่ได้
- การจัดทำสต๊อกกลางและสต๊อกย่อย
- กรณีขายควบสินค้าหลายชนิดอยู่ใน Pack เดียวกันจะบันทึกบัญชีอย่างไร
- กรณีสินค้าที่รับเข้าสต๊อกมากกว่าจำนวนที่สั่งซื้อและจ่ายจริง ซึ่งเป็นสินค้าที่คู่ค้าชดเชยให้ในกรณีที่
สินค้าบางตัวด้อยคุณภาพหรือสินค้าจากรายการโปรโมชั่นของลูกค้าจะบันทึกนำเข้าสต๊อกหรือไม่อย่างไร
- การตีราคาสินค้าคงเหลือการตีราคาค่าเสียหายเป็นต้นทุนสินค้า
- เทคนิคการตัดยอดสินค้าออกจากสต๊อกอย่างถูกกฎหมาย
- กรณีจำหน่ายจ่ายโอนกรณีใดต้องออกใบกำกับภาษีและกรณีใดไม่ต้องออกใบกำกับภาษี
5. แนวทางการตรวจนับและการตีราคาสินค้าปลายงวดมีขั้นตอนและวิธีการปฏิบัติอย่างไรบ้าง
6. หลักเกณฑ์ทางบัญชีและภาษีอากรเกี่ยวกับการจัดทำรายงานสินค้าและวัตถุดิบ
- รูปแบบของรายงานสินค้าและวัตถุดิบที่และสรรพากรยอมรับ
- การบันทึกและการตัดสต๊อกกรณีสินค้าระหว่างผลิต สินค้าสำเร็จรูป บรรจุภัณฑ์และวัตถุดิบต่างๆ
7. การบันทึกและการปรับปรุงรายการทางบัญชีให้ถูกต้องและเป็นไปตามข้อกำหนดของกรมสรรพากร
- การจำหน่าย จ่าย โอน โดยไม่คิดมูลค่า (ส่งเสริมการขายหรือนำไปใช้ในองค์กร) ซึ่งสรรพากร
ถือเป็นการขายมีขั้นตอนอย่างไร
- การบันทึกบัญชีกรณีผิดพลาดหรือการลงรายงานสินค้าและวัตถุดิบผิดพลาดและสรรพากรยอมรับ
- การปรับปรุงรายงานและการปิดบัญชีสต๊อกสินค้าที่มีประสิทธิภาพและถูกต้อง
8. ขั้นตอนและวิธีการดำเนินการเกี่ยวกับการทำลายสินค้า
- เสื่อมคุณภาพ
- ผลิตเสร็จใช้การไม่ได้หรือไม่ผ่าน Q.C.
- ชำรุดเสียหาย
9. ปัญหาการตรวจสอบสินค้าคงเหลือที่ต้องระมัดระวังเป็นพิเศษ
- สอบทานระบบและวิธีการจัดเก็บสินทรัพย์และการเก็บรักษา
- การตรวจแบบสุ่มตรวจ
- อัตราการหมุนเวียนของสินค้าใน Stock
- ขั้นตอนการตัด Stock
- ตรวจนับปริมาณสินค้าขายเกินจากรายงานฯ
- ตรวจสอบรายงานสรุปการตรวจนับสินค้าในแต่ละงวดบัญชี
- ตรวจสอบปริมาณสินค้ากับรายงานสินค้าและวัตถุดิบ
10. การตรวจนับสินค้าแบบวนรอบ
วิทยากร
อาจารย์สุพัฒน์ อุปนิกขิต (CPA)
ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต ที่ปรึกษาและวางระบบบัญชี
มีประสบการณ์ในการบริหารงานด้านบัญชีมากกว่า 35 ปี
กำหนดการสัมมนา
รุ่นที่ 146 |
วันพฤหัสบดีที่ 13 กุมภาพันธ์ 2568 เวลา 09:00 - 16:00 น. ZOOM (เต็มวัน) |
รุ่นที่ 147 |
วันอังคารที่ 29 เมษายน 2568 เวลา 09:00 - 16:00 น. ZOOM (เต็มวัน) |
รุ่นที่ 148 |
วันอังคารที่ 17 มิถุนายน 2568 เวลา 09:00 - 16:00 น. ZOOM (เต็มวัน) |
รุ่นที่ 149 |
วันพุธที่ 20 สิงหาคม 2568 เวลา 09:00 - 16:00 น. ZOOM (เต็มวัน) |
รุ่นที่ 150 |
วันพุธที่ 15 ตุลาคม 2568 เวลา 09:00 - 16:00 น. ZOOM (เต็มวัน) |
รุ่นที่ 145 |
วันพุธที่ 25 ธันวาคม 2567 เวลา 09:00 - 16:00 น. ZOOM (เต็มวัน) |
อัตราค่าเข้าร่วมการสัมมนา
2,400+VAT168 = 2,568 (ภาษีหัก ณ ที่จ่าย 72 บาท) |
ห้ามบันทึกภาพ เสียง วีดีโอ แชร์หรือนำไปเผยแพร่ |