การทำการค้าระหว่างประเทศ และพิธีการศุลกากรรูปแบบใหม่

-


วัตถุประสงค์

       การส่งออกและนำเข้าสินค้าในปัจจุบันมีการขยายตัวเพิ่มมากขึ้นตามการเจริญเติบโตทาง เศรษฐกิจของประเทศและของโลก ประกอบกับการค้าวิถีใหม่ NEW NORMAL  เป็นการค้าในระบบอิเล็กทรอนิกส์  ที่มีความสะดวก รวดเร็ว ผู้ปฏิบัติต้องมีความพร้อมในการประกอบธุรกิจอย่างชาญฉลาด ทันสมัย ตามการค้าของโลกที่เปลี่ยนไปเร็วมาก

      สิ่งที่ผู้ประกอบการธุรกิจนำเข้า-ส่งออก, นักธุรกิจ, ผู้ผลิต, ผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อต่างประเทศ, นายหน้าหรือตัวแทนการค้า, รวมทั้งพนักงานที่ปฏิบัติหน้าที่ที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมดังกล่าวและผู้สนใจทั่วไป จำเป็นต้องศึกษาเรียนรู้ในเรื่องของการค้ายุคใหม่ที่นำเอาระบบ Logistics & Supply Chain มาบริหารจัดการให้ได้รับประโยชน์สูงสุดเพื่อให้การประกอบธุรกิจเป็นไปอย่างสะดวกและได้รับผลสำเร็จคุ้มค่ากับการลงทุน

หัวข้อการสัมมนา

ส่วนที่ 1 – ภาคเช้า ( 09.00 – 12.00 น.)

วิทยากร:  อ.มนตรี ยุวชาติ 

* ความรู้ทางด้านการค้าระหว่างประเทศ (Import -Export Operations)

     –  ความหมายของการประกอบธุรกิจการค้าระหว่างประเทศ

     –  วิธีการชำระเงิน และความเสี่ยงที่เกิดขึ้นในการชำระเงินระหว่างประเทศ

* ข้อตกลงการส่งมอบสินค้าระหว่างประเทศ International Commercial Terms  (Incoterms® 2020)

   ตามเกณฑ์ของสภาหอการค้านานาชาติ (International Chamber of Commerce)

* ขั้นตอนในการจัดทำเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ

      – เอกสารทางการขนส่ง (Transport Document)

      –  เอกสารการประกันภัย (Insurance Document)

 

ส่วนที่ 2 – ภาคบ่าย (13.00 – 16.00 น.)

อ.วิรัตน์ บาหยัน

* การเตรียมความพร้อมในการดำเนินธุรกิจส่งออกและนำเข้าในระบบโลจิสติกส์
ภายใต้พระราชบัญญัติศุลกากร พ.ศ.2560

        –  หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการนำเข้าตาม พ.ร.บ. ศุลกากร พ.ศ. 2560

        –  ความรับผิดในการเสียค่าอากร การคำนวณค่าภาษีอากร

        –  อายุความในการประเมินอากรหลังการตรวจปล่อย (Post Clearance Audit)

* สินค้าที่มีมาตรการนำเข้าและส่งออกตามพระราชบัญญัติ ฯ พ.ศ.2558

* สินค้าต้องห้าม-ต้องกำกัด         

* สินค้าที่ห้ามนำผ่านและผ่านได้

* สินค้าที่ต้องมีมาตรฐาน            

* e-Import : การผ่านพิธีการศุลกากรทางอิเล็กทรอนิกส์สำหรับการนำเข้า

* หลักเกณฑ์ด้านพิกัดอัตราศุลกากร (HS Code) พิกัดอัตราศุลกากรฮาร์โมไนซ์อาเซียน (AHTN)

* หลักเกณฑ์ด้านราคาศุลกากร Gatt Valuation ในการประเมินภาษีอากรในการนำเข้า

* หลักเกณฑ์การใช้สิทธิพิเศษทางภาษีอากรว่าด้วยการเปิดเสรีทางการค้า

        –  การยกเว้นหรือลดอัตราอากรสำหรับเขตการค้าเสรี (FTA)

        –  การตรวจสอบสิทธิก่อนและหลังการนำสินค้าเข้า

        –  การรับรองแหล่งกำเนิดด้วยตนเอง (Self Certification)

* e-Export: พิธีการศุลกากรทางอิเล็กทรอนิกส์สำหรับสินค้าส่งออก

* การยกเว้นอากรสำหรับของส่งออกแล้วจะนำกับเข้ามาในภายหลัง (สุทธินำกลับ)

* การขอคืนอากรสำหรับสินค้าที่นำเข้ามาแล้วส่งกลับออกไป (Re-Export)

* การคืนอากรสำหรับของที่นำเข้ามาผลิต ผสม ประกอบ บรรจุ หรือดำเนินการด้วยวิธีอื่นใด(มาตรา 29)

* การใช้สิทธิประโยชน์ของคลังสินค้าทัณฑ์บน (Bonded Warehouse) เขตปลอดอากร (Free Zone) เขตประกอบการเสรี (I-EAT Free Zone)

* การขอรับเงินชดเชยค่าภาษีอากรสำหรับสินค้าส่งออก (Tax Coupon)

* ปัญหา ข้อควรระวัง และแนวทางในการแก้ไขข้อผิดพลาดการนำเข้า-ส่งออก

  • การรับรองป้องกันภัยจากการก่อการร้ายจากมาตรฐานเออีโอ (AEO) and (C-TPAT)

วิทยากร

คุณมนตรี ยุวชาติ

อดีตผู้บริหาร บมจ.ธนาคารกรุงเทพ

ปัจจุบัน ผู้ประนีประนอมในศาลทรัพย์สินทางปัญญา

และการค้าระหว่างประเทศกลาง

คุณวิรัตน์ บาหยัน

อดีดผู้จัดการสมาคมตัวแทนออกของรับอนุญาตไทย

อดีตผู้อำนวยการฝ่ายอาวุโส

ผู้ร่วมบริหารปฏิบัติการธุรกิจต่างประเทศและแฟคเตอริ่ง

วิทยากร


คุณมนตรี ยุวชาติ / คุณวิรัตน์ บาหยัน

กำหนดการสัมมนา

รุ่นที่ 23
วันอังคารที่ 9 มกราคม 2567 เวลา 09:00 - 16:00 น.
โรงแรม แกรนด์เมอร์เคียว กรุงเทพ เอเทรียม (ถ.เพชรบุรีตัดใหม่)
ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ ใกล้กับสถานีรถไฟใต้ดินเพชรบุรี
(ระยะทางจากสถานี MRT เพชรบุรี ถึง โรงแรมแกรนด์เมอร์เคียวฯ ประมาณ 900 เมตร)
รุ่นที่ 24
วันพุธที่ 7 กุมภาพันธ์ 2567 เวลา 09:00 - 16:00 น.
โรงแรม เมอเวนพิค (สุขุมวิท 15)
สถานีรถไฟฟ้า (BTS) นานา โรงแรมอยู่ในซอยสุขุมวิท 15
รุ่นที่ 25
วันพุธที่ 6 มีนาคม 2567 เวลา 09:00 - 16:00 น.
โรงแรม แรมแบรนดท์ (สุขุมวิท 18)
ซอยสุขุมวิท 18 / สถานี BTS อโศก หรือ สถานี MRT สุขุมวิท
รุ่นที่ 26
วันศุกร์ที่ 5 เมษายน 2567 เวลา 09:00 - 16:00 น.
โรงแรม แรมแบรนดท์ (สุขุมวิท 18)
ซอยสุขุมวิท 18 / สถานี BTS อโศก หรือ สถานี MRT สุขุมวิท
รุ่นที่ 27
วันพุธที่ 8 พฤษภาคม 2567 เวลา 09:00 - 16:00 น.
โรงแรม แรมแบรนดท์ (สุขุมวิท 18)
ซอยสุขุมวิท 18 / สถานี BTS อโศก หรือ สถานี MRT สุขุมวิท
รุ่นที่ 28
วันศุกร์ที่ 7 มิถุนายน 2567 เวลา 09:00 - 16:00 น.
โรงแรม แรมแบรนดท์ (สุขุมวิท 18)
ซอยสุขุมวิท 18 / สถานี BTS อโศก หรือ สถานี MRT สุขุมวิท
รุ่นที่ 29
วันศุกร์ที่ 5 กรกฎาคม 2567 เวลา 09:00 - 16:00 น.
โรงแรม แรมแบรนดท์ (สุขุมวิท 18)
ซอยสุขุมวิท 18 / สถานี BTS อโศก หรือ สถานี MRT สุขุมวิท
รุ่นที่ 30
วันอังคารที่ 6 สิงหาคม 2567 เวลา 09:00 - 16:00 น.
โรงแรม แรมแบรนดท์ (สุขุมวิท 18)
ซอยสุขุมวิท 18 / สถานี BTS อโศก หรือ สถานี MRT สุขุมวิท
รุ่นที่ 32
วันอังคารที่ 8 ตุลาคม 2567 เวลา 09:00 - 16:00 น.
โรงแรม เมอเวนพิค (สุขุมวิท 15)
สถานีรถไฟฟ้า (BTS) นานา โรงแรมอยู่ในซอยสุขุมวิท 15
รุ่นที่ 33
วันพุธที่ 6 พฤศจิกายน 2567 เวลา 09:00 - 16:00 น.
โรงแรม เมอเวนพิค (สุขุมวิท 15)
สถานีรถไฟฟ้า (BTS) นานา โรงแรมอยู่ในซอยสุขุมวิท 15

อัตราค่าเข้าร่วมการสัมมนา

4,300+VAT301 = 4,601 (ภาษีหัก ณ ที่จ่าย 129 บาท)

ยิ่งอบรมมาก ยิ่งเสียภาษีน้อย ค่าอบรมสามารถลงรายจ่ายได้เพิ่มขึ้นถึง 200%

ทุกหลักสูตรจะมอบประกาศนียบัตร Certificate of Attendance ให้กับผู้เข้าสัมมนา

Scroll to Top