สิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรภายใต้ข้อตกลงการเปิดเสรีทางการค้า (ZOOM เต็มวัน) / Customs Privileges under Free Trade Agreement

-


วัตถุประสงค์

       ระบบสิทธิพิเศษทางการค้าด้านภาษีศุลกากร สามารถลดต้นทุนการนำเข้าสินค้าและวัตถุดิบ

จากต่างประเทศได้อย่างมาก อีกทั้งยังช่วยเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันทางการค้า  และ

ช่วยสร้างรายได้จากการส่งออกสินค้าด้วยสิทธิพิเศษนี้การที่เราจะได้รับประโยชน์อย่างเต็มเม็ด

เต็มหน่วย ท่านต้องทราบและปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ การใช้สิทธิพิเศษทางการค้าได้อย่างถูกต้อง

ครบถ้วนตามข้อตกลงต่างๆ ท่านต้องปรับแนวทางการดำเนินธุรกิจให้เหมาะสม ซึ่งจะทำให้ได้

สิทธิประโยชน์สูงสุดครบถ้วนถูกต้อง

หัวข้อการสัมมนา

1. กฎว่าด้วยถิ่นกำเนิดสินค้าคืออะไร ใครเป็นผู้ได้ประโยชน์จากกฎนี้ ?

2. กฎว่าด้วยถิ่นกำเนิดสินค้ามีกี่ประเภท

3. หนังสือรับรองถิ่นกำเนิดคืออะไร

4. ประโยชน์ของหนังสือรับรองถิ่นกำเนิดมีได้อย่างไร

5. ทำไมต้องเปิดเสรีทางการค้า

6. FTA คืออะไร และมีกี่ประเภท ?

7. FTA ช่วยผู้ประกอบธุรกิจส่งออกและนำเข้าอย่างไร

8. หลักเกณฑ์การใช้สิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรภายใต้ FTA

9. FTA ที่มีผลบังคับกับประเทศไทย และที่อยู่ระหว่างเจรจากับประเทศไทย

10. วิธีการตรวจสอบสิทธิพิเศษภายใต้ FTA

       - ทวิภาคี : JTEPA, TIFTA, TAFTA, TNZFTA, TPEFTA, TCHFTA, TPFTA, TTFTA, TSFTA, TEUFTA, T-EFTA

       - พหุภาคี : * WTO, ATIGA* ACFTA* AKFTA* AJFTA* AIFTA* AANZFTA* AHFTA* BIMSTEC* TCFTA*

11. ยื่นคำขอหนังสือรับรองถิ่นกำเนิดสินค้าต้องทำอย่างไร

12. หนังสือรับรองถิ่นกำเนิดสินค้ามีกี่แบบอะไรบ้าง และแต่ละแบบใช้กับข้อตกลงใด

13. ตัวอย่างการยื่นคำขอหนังสือรับรองถิ่นกำเนิดสินค้าในระบบ Electronic

14. ระยะเวลาการเก็บรักษาสำเนาเอกสารต่าง ๆ

15. หน่วยงานที่ให้บริการออกหนังสือรับรองถิ่นกำเนิดสินค้า

16. ใช้สิทธิลดหรือยกเว้นภาษีศุลกากรภายใต้ FTA ได้อย่างไร

17. เอกสารการรับรองถิ่นกำเนิดมีอะไรบ้าง

18. กฎว่าด้วยถิ่นกำเนิดสินค้า (RULE OF ORIGIN)

       - เกณฑ์สูงสุด WO,

       - เกณฑ์นำเข้าวัตถุดิบมาผลิต RVC, CTC, SP

       - เกณฑ์ร่วมกันผลิตในภาคีเดียวกัน

19. ระเบียบปฏิบัติในการนำเข้าของไทยภายใต้ FTA

20. การวางประกัน ด้วยเหตุแห่งความสงสัยว่าเอกสารจะผิดพลาด

21. หลักเกณฑ์เงื่อนไขพิธีการศุลกากรในการนำเข้า

22. สิทธิเกี่ยวกับการส่งมอบสินค้าแบบตรง (Direct Consignment & Transhipment)

23. การใช้สิทธิโดยการซื้อขายผ่านประเทศที่สาม (3rd Party Invoicing)

24. การออกแบบหนังสือรับรองแหล่งกำเนิดแทนกัน ( Back to Back)

25. การออกหนังสือรับรองแหล่งกำเนิดย้อนหลังทำอย่างไร

26. การตรวจสอบหนังสือรับรองแหล่งกำเนิดในการใช้สิทธิพิเศษ

27. กรณีได้สิทธิโดยยกเว้นหนังสือรับรองแหล่งกำเนิด

 

วิทยากร

คุณวิรัตน์ บาหยัน

อดีตผู้จัดการสมาคมตัวแทนออกของรับอนุญาตไทย

อดีตผู้อำนวยการฝ่ายอาวุโส

ผู้ร่วมบริหารปฏิบัติการธุรกิจต่างประเทศและแฟคเตอริ่ง

วิทยากร


คุณวิรัตน์ บาหยัน

กำหนดการสัมมนา

รุ่นที่ 31
วันจันทร์ที่ 10 กุมภาพันธ์ 2568 เวลา 09:00 - 16:00 น.
ZOOM (เต็มวัน)
รุ่นที่ 32
วันจันทร์ที่ 10 มีนาคม 2568 เวลา 09:00 - 16:00 น.
ZOOM (เต็มวัน)
รุ่นที่ 33
วันจันทร์ที่ 28 เมษายน 2568 เวลา 09:00 - 16:00 น.
ZOOM (เต็มวัน)
รุ่นที่ 34
วันศุกร์ที่ 23 พฤษภาคม 2568 เวลา 09:00 - 16:00 น.
ZOOM (เต็มวัน)
รุ่นที่ 35
วันศุกร์ที่ 13 มิถุนายน 2568 เวลา 09:00 - 16:00 น.
ZOOM (เต็มวัน)
รุ่นที่ 36
วันจันทร์ที่ 14 กรกฎาคม 2568 เวลา 09:00 - 16:00 น.
ZOOM (เต็มวัน)
รุ่นที่ 37
วันพุธที่ 27 สิงหาคม 2568 เวลา 09:00 - 16:00 น.
ZOOM (เต็มวัน)
รุ่นที่ 38
วันอังคารที่ 23 กันยายน 2568 เวลา 09:00 - 16:00 น.
ZOOM (เต็มวัน)
รุ่นที่ 39
วันพุธที่ 22 ตุลาคม 2568 เวลา 09:00 - 16:00 น.
ZOOM (เต็มวัน)
รุ่นที่ 30
วันศุกร์ที่ 29 พฤศจิกายน 2567 เวลา 09:00 - 16:00 น.
ZOOM (เต็มวัน)

อัตราค่าเข้าร่วมการสัมมนา

3,300+VAT231 = 3,531 (ภาษีหัก ณ ที่จ่าย 99 บาท)
ห้ามบันทึกภาพ วีดีโอ แชร์หรือนำไปเผยแพร่

 

Scroll to Top